ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    051200 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. กับบทบัญญัติของกฏหมายขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่พิสูจน์ หนูแก้ว จังหวัดนครราชสีมา15 ตุลาคม 2558

    คำถาม
    อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. กับบทบัญญัติของกฏหมายขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่
    รัฐธรรมนูญเป็นกฏหมายสูงสุดของประเทศ  ในส่วนอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มาตรา 250(3) เจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ในอำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. จะต้องมีตำแหน่งตั้งแต่ผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่าขึ้นไป  แต่บทบัญญัติในมาตรา 69  ของ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ป.ป.ช. (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554  นั้นระบุว่าเรื่องกล่าวหาเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีตำแหน่งต่ำกว่าผู้อำนวยการกองฯ  คณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็มีอำนาจดำเนินการต่อไปได้ หากมีมติให้ดำเนินการต่อไป  กรณีข้อกฏหมายนี้ขัดหรือแย้งกับหลักของกฏหมายรัฐธรรมนูญหรือไม่  ครับอาจารย์
    คำตอบ
    อ่านกฎหมายก็ต้องอ่านให้หมด ลองไปอ่านมาตรา ๒๕๐(๓) เสียให้จบ เขาให้อำนาจไว้แล้ว
    มีชัย ฤชุพันธุ์
    15 ตุลาคม 2558