ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    013372 salary structureofficer10 มีนาคม 2548

    คำถาม
    salary structure

    บริษัทได้มีการนำ salary structure ใหม่เข้ามาใช้ โดยจะมีการประเมินพนักงานและถ้าพนักงานตกอยุ่ในระดับไหนก็จะได้เงินเดือนเท่านั้นแต่ในกรณีที่พนักงานได้รับเงินเดือนมากกว่าที่ประเมินทางบริษัทก็จะยังคงให้เงินเท่าเดิมแต่จะลงในสลิปเงินเดือนตามระดับที่คุณได้รับ เช่น ปัจจุบันได้เงินเดือนอยู่ที่ 15000บาท เมื่อประเมินพบว่าตกอยู่ในระดับที่เงินเดือน10000บาท บริษัทจะลงในสลิปว่า

     salary: 10000 and extra income: 5000

    ซึ่งการทำแบบนี้จะมีผลในการคำนวนโบนัสและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อยากทราบว่าการทำแบบนี้จะมีข้อดี/ข้ดเสียอย่างไรบ้าง / การที่ลงสลิปเงินเดือนไม่ตรงตามความจริงเป็นการหลีกเลี้ยงภาษีใด ๆ หรือไม่ / บริษัทมีสิทธิที่จะบังคับใช้policyนี้หรือไม่ / ถ้าในกรณีที่เราไม่เห็นด้วยและไม่ยินยอมบริษัทมีสิทธิบังคับให้เราออกหรือไม่ / และถ้าในกรณีที่เราถูกทางบริษัทบีบให้ออกเราจะได้เงินชดเชยใด ๆ หรือไม่ หรือ เราสามารถฟ้องเพื่อความเป็นธรรมหรือไม่

     

    คำตอบ

     

              การแยกเงินเดือนออกจากรายได้อื่น จะทำให้กระทบต่อประโยชน์ที่พึงได้อื่น เช่น การจ่ายเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ  เงินค่าชดเชยในกรณีออกจากงาน  ดังนั้นถ้าไม่เห็นด้วยก็ควรไปร้องเรียนต่อกรมแรงงาน

     

     


    มีชัย ฤชุพันธุ์
    10 มีนาคม 2548