ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    022468 คำวินิจฉัยของกฤษฎีกา กับ แนวทางปฏิบัติสจ.6 กรกฎาคม 2550

    คำถาม
    คำวินิจฉัยของกฤษฎีกา กับ แนวทางปฏิบัติ

    กราบเรียน  ท่านมีชัย

            กรณีที่แนวทางในการปฎิบัติราชการ หรือ การบริหารราชการของผู้บริหาร อปท. ซึ่งยึดถือ ตาม พรบ.ท้องถิ่นนั้นๆ ,พรบ.แผนและขั้นตอนกระจายอำนาจ ตลอด จนกฏระเบียบ คำสั่งกระทรวง กรม

             ปรากฏว่ามีบางกรณีที่กฎหมาย และ คำสั่งดังกล่าว อาจจะมีความขัดแย้ง หรือ ไม่ชัดเจนอยู่บ้าง

             จึงปรากฏว่าบาง อปท. เมื่อเห็นข้อขัดแย้งหรือไม่ชัดเจนจึงได้หารือไปยังกฤษฎีกา และ ในที่สุดก็มีคำวินิจฉัย

             ดังนั้นกระผมมีคำถามว่า....ในลักษณะกรณีเดียวกัน เมื่อ อปท.อื่นๆจะปฏิบัติ โดยยึดถือคำวินิจฉัยของกฤษฎีกาเป็นหลักในการบริหารราชการกรณีนั้น ย่อมเป็นหลักการบริหารที่ชอบด้วยกฏหมายแล้ว ใช่หรือไม่ครับ

                                            กราบขอบพระคุณ

                                                     สจ.

    คำตอบ

    เรียน สจ.

        ใช่ เพราะอย่างน้อยก็มีข้ออ้างอิง


    มีชัย ฤชุพันธุ์
    6 กรกฎาคม 2550