รัฐธรรมนูญฉบับปฏิรูปจี๗๗จะเกิดขึ้นไหมครับ ฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา๑ที่มาสภานิติิบัญญัติหรือวุฒิสภาคือที่มาของรัฐธรรมนูญอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มาจากคนชั้นสูง เช่น สภากทม สภาพัทยา สภาเทศบาลเมือง องค์กรอิสระ ตามสัดส่วนของประชากรทั้งหมด ที่เหลือจากนั้นให้คงอยู่และแต่งตั้ง การถอดถอนวุฒิสภา ให้ใช้จำนวนเสียงและจำนวนพรรค ๒ใน๓ หน้าที่ ออกพระราชบัญญัติ จากนายกรัฐมนตรี หรือ ประธานอธิบดี ๒สภาประชาชนหรือสภาผู้แทน แบ่งเขต รวมเขต รวมมณฑล สรรหาถ้าขาด ทำหน้าที่ มีฝ่ายค้าน ตรวจสอบ ตั้งกระทู้ แสดงความคิดเห็น ฝ่ายรัฐบาล มีนายกรัฐมนตรีสภา และ คณะรัฐมนตรีสภา เป็นผู้เสนอนโยบาย เท่านั้น โดยมี ปลัดกระทรวง เป็น เลขารัฐมนตรีสภา
ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาล นิยายจากอังกฤษว่า"รัฐบาลนี้เป็นของราชินีแต่ปกครองด้วยรัฐสภาของประชาชน" ประธานอธิบดี เป็นประธานของ อธิบดี และ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน กพ รองประธานอธิบดี เป็นเจ้ากระทรวงยุติธรรมอัยการตำรวจ รองประธานอธิบดี เป็นเจ้ากระทรวงกลาโหมมั่นคง เลขานุการ คือ ปลัดกระทรวง อธิบดีกรม มีประธานอธิบดี เป็นผู้บังคับใช้กฎหมาย นายกรัฐมนตรีสภา ออกนโยบายเท่านั้น มีปลัดกระทรวงเป็นเลขา และเข้ารัฐสภาออกเป็นกฎหมายพระราชบัญญัติ ในกรณีไม่มี นายกรัฐมนตรีสภาให้"ประธานอธิบดีปกครองระบอบประธานาธิบดี" ม๔๔ คือ กฤษฎีกาเป็นกฎเสนาบดีเป็นกฎอัยการศึกษาเป็นข้อบังคับปฏิบัติ
การปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ministry of local administrative ยุบ อบจ ยุบ อบต ยุบ เทศบาลตำบล ผู้ว่าจังหวัดไม่ต้องเป็นนิติบุคคล ให้เป็นแบบนายอำเภอ เทศบาล คือ เขตปกครองพิเศษ เช่น กทม พัทยา สภาเทศบาลเมือง ให้มี สภาตำบล เป็นตัวขับเคลื่อนท้องถิ่น จาก กำนัน อบต สภาเทศบาล กำนัน คือ ปกครองโดยรัฐเป็นเจ้าของ นายก อบต คือ CEOแต่งตั้ง ปกครองโดยประชารัฐ มีสภาตำบลกำกับดูแล นายกเทศเมือง คือ ผู้ปกครองท้องถิ่นมีสภาเทศบาล รูปแบบอิสระ |