ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    052277 นายจ้างฟ้องคดียักยอกRoy15 ธันวาคม 2559

    คำถาม
    นายจ้างฟ้องคดียักยอก
    นายจ้างเก่าแจ้งความข้อหายักยอกทรัพย์ 

    เมื่อเดือน พ.ย 57 ได้เดินทางไปพบลูกค้าที่ภูเก็ต และในวันที่ 5 พ.ย 57 ได้นัดลูกค้า บ. A และน้องที่เป็นคนแนะนำให้รู้จักลูกค้า (ขอเรีนกว่า B)มาทานข้าวเที่ยงที่ร้านอาหาร Zen สาขา Central ภูเก็ต สุดท้ายลูกค้ามาไม่ได้เนื่องจากติดธุระ แต่ B มาได้ จึงได้ทานข้าวเที่ยงด้วยกัน ในวันนั้นได้มีลูกน้องอีกคนที่ทำงานในบริษัทเดียวกันกันตัวดิชั้นร่วมเดินทางและทานอาหารกันด้วย อาหารเที่ยงมียอดเงิน 2,134 บาท ดิชั้นได้ขอใบเสร็จจากทางร้านที่พิมพ์จากระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาแสดงกับทางบริษัทว่ามีการเลี้ยงลูกค้า บ. A หลังจากทานอาหารเสร็จ B ได้พาดิชั้นและลูกน้องไปแนะนำกับลูกค้า บริษัทอื่นๆ อีก พอเดินทางกลับมากรุงเทพฯ ดิชั้นได้นำใบเสร็จมาแสดงกับทางนายจ้างว่าได้ทำการเลี้ยงอาหารเที่ยงแก่ลูกค้า บ. A โดยไม่ได้แจ้งว่า จริงแล้ว ลูกค้า บ. A ไม่ได้มาแต่เป็นการเลี้ยงตอบแทน B ที่พาไปแนะนำให้รู้จักลูกค้ารายอื่นๆเพิ่ม 

    ไม่นานดิชั้นได้ถูกนายจ้างเลิกจ้างเนื่องจาก แนวทางไม่ตรงกันดิชั้นจึงฟ้องคดีแรงงานในกรณีเลิกจ้างไม่เป็นธรรมเมื่อ มีนา 58 ทางศาลแรงงานตัดสินให้ดิชั้นเป็นฝ่ายชนะ แต่ทางนายจ้างเก่าแจ้งความว่าดิชั้น ยักยอกทรัพย์ ยอด 2,134 บาท (ในชั้นไกล่เกลี่ยคดีแรงงาน นายจ้างแจ้งว่าจะดำเนินคดีอาญาข้อหายักยอกทรัพย์ยอด 2,134 กับดิชั้น หากดิชั้นจะดำเนินคดีแรงงานกับนายจ้าง) 

    ปัจจุบันนี้คดีแรงงานนายจ้างเก่ากำลังยื่นเรื่องอุทธรณ์อยู่ และคดีอาญาได้มีการทำสำนวนส่งให้กับอัยการ และทางอัยการสั่งฟ้องดิชั้นในคดียักยอกทรัพย์ ซึ่งวันที่ส่งสำนวนอัยการทางนายจ้างเก่าได้มีการเข้าไปพบหัวหน้าอัยการ (ส่งสำนวนให้อัยการครั้งแรก อัยการยังไม่ได้อ่านสำนวนมาก่อน) จึงอยากสอบถามดังนี้ค่ะ


    นายจ้างเก่าแจ้งความข้อหายักยอกทรัพย์ 

    เมื่อเดือน พ.ย 57 ได้เดินทางไปพบลูกค้าที่ภูเก็ต และในวันที่ 5 พ.ย 57 ได้นัดลูกค้า บ. A และน้องที่เป็นคนแนะนำให้รู้จักลูกค้า (ขอเรีนกว่า B)มาทานข้าวเที่ยงที่ร้านอาหาร Zen สาขา Central ภูเก็ต สุดท้ายลูกค้ามาไม่ได้เนื่องจากติดธุระ แต่ B มาได้ จึงได้ทานข้าวเที่ยงด้วยกัน ในวันนั้นได้มีลูกน้องอีกคนที่ทำงานในบริษัทเดียวกันกันตัวดิชั้นร่วมเดินทางและทานอาหารกันด้วย อาหารเที่ยงมียอดเงิน 2,134 บาท ดิชั้นได้ขอใบเสร็จจากทางร้านที่พิมพ์จากระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาแสดงกับทางบริษัทว่ามีการเลี้ยงลูกค้า บ. A หลังจากทานอาหารเสร็จ B ได้พาดิชั้นและลูกน้องไปแนะนำกับลูกค้า บริษัทอื่นๆ อีก พอเดินทางกลับมากรุงเทพฯ ดิชั้นได้นำใบเสร็จมาแสดงกับทางนายจ้างว่าได้ทำการเลี้ยงอาหารเที่ยงแก่ลูกค้า บ. A โดยไม่ได้แจ้งว่า จริงแล้ว ลูกค้า บ. A ไม่ได้มาแต่เป็นการเลี้ยงตอบแทน B ที่พาไปแนะนำให้รู้จักลูกค้ารายอื่นๆเพิ่ม 

    ไม่นานดิชั้นได้ถูกนายจ้างเลิกจ้างเนื่องจาก แนวทางไม่ตรงกันดิชั้นจึงฟ้องคดีแรงงานในกรณีเลิกจ้างไม่เป็นธรรมเมื่อ มีนา 58 ทางศาลแรงงานตัดสินให้ดิชั้นเป็นฝ่ายชนะ แต่ทางนายจ้างเก่าแจ้งความว่าดิชั้น ยักยอกทรัพย์ ยอด 2,134 บาท (ในชั้นไกล่เกลี่ยคดีแรงงาน นายจ้างแจ้งว่าจะดำเนินคดีอาญาข้อหายักยอกทรัพย์ยอด 2,134 กับดิชั้น หากดิชั้นจะดำเนินคดีแรงงานกับนายจ้าง) 

    ปัจจุบันนี้คดีแรงงานนายจ้างเก่ากำลังยื่นเรื่องอุทธรณ์อยู่ และคดีอาญาได้มีการทำสำนวนส่งให้กับอัยการ และทางอัยการสั่งฟ้องดิชั้นในคดียักยอกทรัพย์ ซึ่งวันที่ส่งสำนวนอัยการทางนายจ้างเก่าได้มีการเข้าไปพบหัวหน้าอัยการ (ส่งสำนวนให้อัยการครั้งแรก อัยการยังไม่ได้อ่านสำนวนมาก่อน) จึงอยากสอบถามดังนี้ค่ะ


    นายจ้างเก่าแจ้งความข้อหายักยอกทรัพย์ 

    เมื่อเดือน พ.ย 57 ได้เดินทางไปพบลูกค้าที่ภูเก็ต และในวันที่ 5 พ.ย 57 ได้นัดลูกค้า บ. A และน้องที่เป็นคนแนะนำให้รู้จักลูกค้า (ขอเรีนกว่า B)มาทานข้าวเที่ยงที่ร้านอาหาร Zen สาขา Central ภูเก็ต สุดท้ายลูกค้ามาไม่ได้เนื่องจากติดธุระ แต่ B มาได้ จึงได้ทานข้าวเที่ยงด้วยกัน ในวันนั้นได้มีลูกน้องอีกคนที่ทำงานในบริษัทเดียวกันกันตัวดิชั้นร่วมเดินทางและทานอาหารกันด้วย อาหารเที่ยงมียอดเงิน 2,134 บาท ดิชั้นได้ขอใบเสร็จจากทางร้านที่พิมพ์จากระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาแสดงกับทางบริษัทว่ามีการเลี้ยงลูกค้า บ. A หลังจากทานอาหารเสร็จ B ได้พาดิชั้นและลูกน้องไปแนะนำกับลูกค้า บริษัทอื่นๆ อีก พอเดินทางกลับมากรุงเทพฯ ดิชั้นได้นำใบเสร็จมาแสดงกับทางนายจ้างว่าได้ทำการเลี้ยงอาหารเที่ยงแก่ลูกค้า บ. A โดยไม่ได้แจ้งว่า จริงแล้ว ลูกค้า บ. A ไม่ได้มาแต่เป็นการเลี้ยงตอบแทน B ที่พาไปแนะนำให้รู้จักลูกค้ารายอื่นๆเพิ่ม 

    ไม่นานดิชั้นได้ถูกนายจ้างเลิกจ้างเนื่องจาก แนวทางไม่ตรงกันดิชั้นจึงฟ้องคดีแรงงานในกรณีเลิกจ้างไม่เป็นธรรมเมื่อ มีนา 58 ทางศาลแรงงานตัดสินให้ดิชั้นเป็นฝ่ายชนะ แต่ทางนายจ้างเก่าแจ้งความว่าดิชั้น ยักยอกทรัพย์ ยอด 2,134 บาท (ในชั้นไกล่เกลี่ยคดีแรงงาน นายจ้างแจ้งว่าจะดำเนินคดีอาญาข้อหายักยอกทรัพย์ยอด 2,134 กับดิชั้น หากดิชั้นจะดำเนินคดีแรงงานกับนายจ้าง) 

    ปัจจุบันนี้คดีแรงงานนายจ้างเก่ากำลังยื่นเรื่องอุทธรณ์อยู่ และคดีอาญาได้มีการทำสำนวนส่งให้กับอัยการ และทางอัยการสั่งฟ้องดิชั้นในคดียักยอกทรัพย์ ซึ่งวันที่ส่งสำนวนอัยการทางนายจ้างเก่าได้มีการเข้าไปพบหัวหน้าอัยการ (ส่งสำนวนให้อัยการครั้งแรก อัยการยังไม่ได้อ่านสำนวนมาก่อน) จึงอยากสอบถามดังนี้ค่ะดิชั้นมีความผิดฐานยักยอกทรัพย์หรือไม่ เพราะดิชั้นไม่ได้นำเงิน 2,134 บาท มาเป็นของตัวเอง เพราะได้มีการเลี้ยงอาหารจริงเพียงแต่ไม่ใช่ ลูกค้า บ. A แต่เป็นเลี้ยงตอบแทนที่ B พาไปแนะนำให้รู้จักลูกค้ารายอื่นๆเพิ่ม 

    ถ้าดิชั้นมีความผิด มีความผิดอย่างไรเพราะดิชั้นไม่ได้รับผลประโยชน์อะไรจากการเลี้ยงตอบแทน B ในครั้งนี้เลย นายจ้างเก่าเป็นคนที่ได้รับผลประโยชน์ในครั้งนี้เพราะได้มีลูกค้าเพิ่ม และได้รับรายได้เพิ่มจากการที่มีลูกค้ามาพักในโรงแรมเพิ่ม 

    ในเมื่อดิชั้นยื่นหลักฐานทุกอย่าง พร้องทั้งมีการสอบพยานฝ่านดิชั้น B. ว่ามีการเลี้ยงตอบแทน และไปพบลูกค้าจริง ทำไมทางอัยการจึงยังสั่งฟ้องในคดีของดิชั้น

    จะมีวิธีแก้ต่างในชั้นศาลอย่างไรในคดีนี้ค่ะ





    คำตอบ
    ถ้าฟังข้อเท็จจริงที่คุณว่ามา ก็ไม่น่าจะเป็นการยักยอก เพราะเป็นการดำเนินการไปตามทางการค้าปกติ คุณก็ต้องนำสืบให้ศาลเห็นว่า  การเลี้ยงคนที่เกี่ยวข้องเป็นปกติของการหาลูกค้า
    มีชัย ฤชุพันธุ์
    15 ธันวาคม 2559