ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    052313 กรณีใดใช้ "ยกร่าง" กรณีใดใช้ "บัญญัติ" จึงจะถูกต้องตามภาษากฎหมายประชาชนไทย17 มกราคม 2560

    คำถาม
    กรณีใดใช้ "ยกร่าง" กรณีใดใช้ "บัญญัติ" จึงจะถูกต้องตามภาษากฎหมาย

    การใช้ภาษากฎหมายให้ถูกต้องตามหลักภาษาของกฎหมายเป็นสิ่งที่ควรทำอย่างยิ่ง แต่ปัจจุบันที่เห็นตามสื่อทั้งสื่อหลักและสื่อออนไลน์มีการใช้คำอย่างฟุ่มเฟือยและไม่น่าจะถูกต้อง บางเรื่อง "บัญญัติ" บางเรื่องใช้ "ยกร่าง"

    จึงอยากทราบว่า ทั้ง 2 คำนี้ ใช้แตกต่างกันอย่างไร และต้องใช้อย่างไรจึงถูกต้องครับ

    คำตอบ
    ตอนที่กำลังทำอยู่ เขาก็ใช้ว่า "ยกร่าง"  แต่ถ้าออกมาเป็นกฎหมายแล้ว เขาเรียกว่า กฎหมาย "บัญญัติ"
    มีชัย ฤชุพันธุ์
    17 มกราคม 2560