ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
ค่าส่วนกลาง
ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
อ่านทั้งหมด
มุมของมีชัย
ถาม-ตอบ กับมีชัย
ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่
ส่งคำถาม
คำสำคัญ
ค้นหาใน
หัวข้อ & เนื้อหาคำถาม
ผู้ส่งคำถาม
เลือกประเภทคำถาม-ตอบ
>
การเมือง
|
กฏหมาย
|
เศรษฐกิจ
|
ทั่วไป
|
มรดก
|
แรงงาน
|
ท้องถิ่น
|
มหาวิทยาลัย
|
ราชการ
|
ครอบครัว
|
ล้มละลาย
|
ที่ดิน
|
ค้ำประกัน
|
22128 ค้ำ
|
archanwell.org
|
ล้างมลทิน
|
24687
|
hhhhhhhhhhh
|
คำถามทั้งหมด
... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม
ปิดหน้าต่างนี้
คำถามที่
หัวข้อคำถาม
โดย
วันที่
052771
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
KONG
28 กุมภาพันธ์ 2561
คำถาม
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
เจตนารมณ์ของมาตรานี้คืออะไร (วรรคสอง)
"มาตรา 40 คำสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณ์ หรือโต้แย้งต่อไปได้ให้ระบุกรณีที่อาจอุทธรณ์หรือโต้แย้ง การยื่นคำอุทธรณ์หรือคำโต้แย้ง และระยะเวลาสำหรับการอุทธรณ์หรือการโต้แย้งดังกล่าวไว้ด้วย
ในกรณีที่มีการฝ่าฝืนบทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ให้ระยะเวลาสำหรับการอุทธรณ์หรือการโต้แย้งเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่ง แต่ถ้าไม่มีการแจ้งใหม่และระยะเวลาดังกล่าวมีระยะเวลาสั้นกว่าหนึ่งปี ให้ขยายเป็นหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับคำสั่งทางปกครอง"
คำตอบ
เพื่อบอกให้คนที่ออกคำสั่งทางปกครอง บอกให้คนที่ถูกสั่ง ได้รู้ถึงสิทธิของตนในการที่จะอุทธรณ์คำสั่งต่อไป
มีชัย ฤชุพันธุ์
28 กุมภาพันธ์ 2561