ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
ค่าส่วนกลาง
ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
อ่านทั้งหมด
มุมของมีชัย
ถาม-ตอบ กับมีชัย
ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่
ส่งคำถาม
คำสำคัญ
ค้นหาใน
หัวข้อ & เนื้อหาคำถาม
ผู้ส่งคำถาม
เลือกประเภทคำถาม-ตอบ
>
การเมือง
|
กฏหมาย
|
เศรษฐกิจ
|
ทั่วไป
|
มรดก
|
แรงงาน
|
ท้องถิ่น
|
มหาวิทยาลัย
|
ราชการ
|
ครอบครัว
|
ล้มละลาย
|
ที่ดิน
|
ค้ำประกัน
|
22128 ค้ำ
|
archanwell.org
|
ล้างมลทิน
|
24687
|
hhhhhhhhhhh
|
คำถามทั้งหมด
... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม
ปิดหน้าต่างนี้
คำถามที่
หัวข้อคำถาม
โดย
วันที่
052815
คำวินิจฉัยของคณะกรรมการพัสดุภาครัฐ(กวจ)ถูกต้องหรือไม่
นายภาสกร โพธิ์แสง คนท้องถิิ่น
11 เมษายน 2561
คำถาม
คำวินิจฉัยของคณะกรรมการพัสดุภาครัฐ(กวจ)ถูกต้องหรือไม่
ด้วยกรมบัญชีกลางได้ออกหนังสือด่วนที่สุด ที่่ กค(กวจ)๐๔๐๕.๒/ว ๑๑๒ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ซ้อมความเข้าใจนิยามความหมาย"งานก่อสร้าง"ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ สรุปความว่า โดยที่มาตรา๔ ได้กำหนดนิยามความหมายของคำว่า"งานก่อสร้าง"หมายความว่างานก่อสรางอาคาร ้ งานก่อสร้างสาธารณูปโภค หรือสิ่งปลูกสร้างอื่นใด และการซ่อมแซม ต่อเติม ปรับปรุง รื้อถอน หรือการกระทําอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกันต่ออาคาร สาธารณูปโภค หรือสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว รวมทั้งงานบริการที่รวมอยู่ในงานก่อสร้างนั้นด้วย แต่มูลค่า ของงานบริการต้องไม่สูงกว่ามูลค่าของงานก่อสร้างนั้น คระกรรมการ(กวจ) พิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานตาม พรบ.ดังกล่าว จึงอาศัยอำนาจตามความในมาตรา๒๙(๓)เห็นว่า"งานซ่อมแซม ต่อเติม ปรับปรุง รือถอน โดยมีเงื่อนไขว่าผ่านการรับรองจากผู้มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้สอบถามเห็นว่า ยังไม่มีการหารือปัญหาให้ตีความตาม มาตรา ๒๙(๓) แต่กับซ้อมให้ปฏิบัติตามนัยนังสือซึ่งเป็นไปได้ยากที่จะปฎิบัติตามและเป็นปัญหาการใช้จ่ายงบประมาณของท้องถิ่นทุกแห่งที่ไม่มีผู้ประกอบอาชีพที่ได้รับใบอนุญาต(วิศวกร)ผู้ถามเห็นว่าคำวินิจฉัยดังกล่าวตามมาตรา๒๙(๓)ผิด จึงขอให้อาจารย์ได้โปรดพิจารณาหาคำตอบ ขอบพระคุณมาด้วยความเคารพอย่างสูงครับ
คำตอบ
คำถามที่ถามมา อ่านแล้วไม่เข้าใจ เพราะผู้ถามรู้ข้อเท็จจริงแล้วเดาว่าคนอื่นควรรู้ข้อเท็จจริงนั้นด้วย เลยไม่รู้จะตอบอย่างไร
มีชัย ฤชุพันธุ์
11 เมษายน 2561