ความคิดเสรีของมีชัย
เรียนรู้กฏหมายใกล้ตัว
เรื่องสั้น
จดหมายถึงนาย
 
  • นายช่าง อบต กำหนดให้ใช้วิศวกรระดับเกินกว่าที่สภาวิศวกรกำหนด
  •  
  • การยกเลิกกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  •  
  • ค่าส่วนกลาง
  •  
  • ผู้ขออนุญาตปลูกสร้างเป็นเจ้าของอาคารแต่ผู้เดียวจริงหรือไม่
  •  
  • ขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภครับคำขออนุญาตฎีกาอีกครั้งได้หรือไม่
  • อ่านทั้งหมด
    มุมของมีชัย ถาม-ตอบ กับมีชัย
     
         ถาม-ตอบ กับมีชัย จะเป็นกุญแจ ไขข้อข้องใจของทุกๆท่าน ในเรื่องกฎหมายและการเมือง โดยท่านอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์ จะขจัดความสงสัยที่เกิดขึ้นของคุณให้หมดไป เมื่อคุณส่งคำถามเข้ามาที่นี่ ส่งคำถาม
    คำสำคัญ
    ค้นหาใน
     
    เลือกประเภทคำถาม-ตอบ > การเมือง | กฏหมาย | เศรษฐกิจ | ทั่วไป | มรดก | แรงงาน | ท้องถิ่น | มหาวิทยาลัย | ราชการ | ครอบครัว | ล้มละลาย | ที่ดิน | ค้ำประกัน | 22128 ค้ำ | archanwell.org | ล้างมลทิน | 24687 | hhhhhhhhhhh | คำถามทั้งหมด ... อ่านสักนิดก่อนตั้งคำถาม

    ปิดหน้าต่างนี้
    คำถามที่ หัวข้อคำถามโดยวันที่
    023675 อยากทราบเกี่ยวกับการใช้คำว่า “ร่างรัฐธรรมนูญ” กับ “รัฐธรรมนูญ”นุชจรี20 กันยายน 2550

    คำถาม
    อยากทราบเกี่ยวกับการใช้คำว่า “ร่างรัฐธรรมนูญ” กับ “รัฐธรรมนูญ”

    อยากทราบว่าเราจะสามารถเรียกร่างรัฐธรรมนูญฉบับปี 2550 ว่าเป็น “รัฐธรรมนูญ” ได้หลังจากผ่านการลงประชามติเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2550  หรือภายหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 คะ     เพราะจากที่อ่านข่าวตามสื่อต่าง ๆ ในวันที่คุณมีชัยและคณะนำร่างรัฐธรรมนูญทูลเกล้าฯ เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่  เห็นว่าในวันนั้นยังเรียกว่า “ร่างรัฐธรรมนูญ” อยู่  จึงรู้สึกสงสัยค่ะ

     

    ขอขอบคุณล่วงหน้านะคะ

    คำตอบ

    ก่อนนำขึ้นทูลเกล้าฯ ยังเรียกว่าเป็น "ร่าง" อยู่ เพราะพระเจ้าอยู่หัวยังไม่ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว จึงเป็น "รัฐธรรมนูญ" ที่สมบูรณ์

     


    มีชัย ฤชุพันธุ์
    20 กันยายน 2550